(Thai version below)

Hoy, 22 de febrero de 2024, se cumple el primer aniversario de la entrada en vigor en Tailandia de la Ley de Prevención y Represión de la Tortura y las Desapariciones Forzadas B.E. 2565 (ley contra la tortura).

La aprobación de la ley supuso un hito para el país en el cumplimiento de las obligaciones contraídas en virtud de la Convención contra la Tortura de la ONU.

"Un año después, podemos ver hasta qué punto esta ley ha ayudado a cambiar las acciones y actitudes en Tailandia", declaró Barbara Bernath, Secretaria General de la APT.

En el ámbito internacional, Tailandia ha retirado las declaraciones interpretativas de los artículos 1 (definición de tortura), 4 (penalización de la tortura) y 15 (jurisdicción sobre la tortura) de la UNCAT.

En el ámbito nacional, la nueva ley ha contribuido a galvanizar el compromiso del país con la prevención y la respuesta a la tortura. Un caso reciente de un hombre que confesó el asesinato de su esposa, presuntamente debido a la coacción de las fuerzas del orden tailandesas, ha puesto de relieve la cuestión de los interrogatorios basados en confesiones y el uso de la tortura.

Mientras Tailandia reflexiona sobre los avances logrados en los últimos doce meses en la aplicación de su ley contra la tortura, el camino hacia la garantía de la seguridad y los derechos de las personas detenidas debe continuar.

Barbara Bernath, APT Secretaria General

Según los medios de comunicación, el 12 de enero de 2024 se encontró el cadáver de una mujer en un estanque de Aranyaphrathet (Tailandia). El marido de la mujer fue detenido rápidamente por la policía y admitió el crimen ese mismo día. Sin embargo, los periodistas de investigación descubrieron una historia diferente. Las cámaras de seguridad de la zona grabaron a cinco adolescentes cometiendo el asesinato y arrojando el cadáver al estanque. Uno de ellos era hijo de un agente de policía.

El marido de la mujer denunció posteriormente que durante su interrogatorio se emplearon coacciones, como desnudarla a la fuerza, encadenarla por los tobillos y amenazarla con asfixiarla con una bolsa de plástico.

En respuesta a la denuncia del hombre, el Departamento de Investigaciones Especiales (DSI) de Tailandia respondió rápidamente y pudo hacer uso del mandato especial que le otorga la ley contra la tortura.

Angsuket Visuthvatanasak, director de la Oficina de Asuntos de Aplicación de la Justicia del DSI, declaró a la APT que el DSI se coordinará con las autoridades pertinentes para garantizar la transparencia de los procedimientos judiciales contra los agentes de policía, de conformidad con la ley contra la tortura.

Para complementar la legislación tailandesa contra la tortura, está claro que sigue siendo necesario aplicar plenamente las salvaguardias jurídicas y procesales durante la custodia policial, tal y como establecen los Principios sobre Entrevistas Eficaces para la Investigación y la Obtención de Información, también conocidos como Principios Méndez.

Ello incluye abandonar los métodos de interrogatorio coercitivos en favor de las entrevistas de investigación, aplicar la grabación en audio y vídeo de los interrogatorios y poner en marcha un sistema de vigilancia de los lugares de detención.

Tailandia se ha unido a más de 60 Estados en la Asamblea General de la ONU para expresar su apoyo a los Principios de Méndez.

En los últimos años, la APT ha colaborado con las autoridades tailandesas para mejorar los conocimientos y las capacidades en materia de prevención de la tortura, por ejemplo organizando talleres sobre los Principios de Méndez con la Real Academia de Cadetes de Policía (RPCA) y otras fuerzas del orden.

Sobre la base de esta colaboración, el teniente coronel Kiattisak Chanjana, de la RPCA, destacó el compromiso de la institución con la elaboración de un programa de formación para entrevistas policiales que se ajuste a las obligaciones de la ley contra la tortura, haciendo hincapié en la importancia de que los nuevos reclutas adopten un enfoque que se oponga estrictamente al uso de la tortura en las prácticas de investigación.

En marzo, la APT organizará un taller de formación de formadores, en colaboración con la RCPA y la policía neozelandesa, centrado en las entrevistas basadas en la comunicación.

Además, la APT convocó recientemente un diálogo nacional en Tailandia sobre la ratificación del Protocolo Facultativo de la Convención de las Naciones Unidas contra la Tortura (OPCAT) que, entre otras cosas, crea un sistema de visitas periódicas y anunciadas a los lugares de detención, incluidas las comisarías de policía.

El diálogo nacional -organizado el 9 de febrero de 2024, en colaboración con el Departamento de Protección de Derechos y Libertades de Tailandia y el ACNUDH- reunió a representantes de más de 26 instituciones gubernamentales diferentes.

La APT también colaboró con la Comisión Nacional de Derechos Humanos de Tailandia, llevando a cabo sesiones para profundizar en la comprensión de los principios del OPCAT y la metodología de supervisión.

"Nuestro trabajo con las autoridades tailandesas y las fuerzas del orden ha puesto de manifiesto el deseo genuino de muchos actores de llevar a cabo cambios prácticos en el sistema de justicia penal del país. La APT seguirá apoyando los esfuerzos de Tailandia para que todas las personas puedan estar seguras bajo custodia", declaró la Sra. Bernath.

ประเทศไทย: ทบทวนบทบาทของกฎหมายต่อต้านการทรมานในหนึ่งปีที่ผ่านมา 

 

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 ถือเป็นวันครบรอบหนึ่งปีของการบังคับใช้ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย พ.. 2565 (กฎหมายต่อต้านการทรมาน) ในประเทศไท การบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวถือเป็นก้าวสำคัญของประเทศในการดำเนินการตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาต่อต้านการทรมานของสหประชาชาติ (UNCAT) 

“ในหนึ่งปีที่ผ่านมา เราจะเห็นได้ว่ากฎหมายฉบับนี้เป็นตัวขับเคลื่อนด้านการบังคับใช้หลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐาน (safeguards) ให้กับประชาชนอย่างเข้มงวด ทั้งทัศนคติของผู้มีอำนาจทางกฎหมายยังมีความก้าวหน้าขึ้น” บาร์บารา เบอร์นาธ เลขาธิการ APT  

ในเวทีระหว่างประเทศ ประเทศไทยได้ถอนคำแถลงตีความ (the interpretative declation) ในข้อบทที่ 1 (คำนิยามการทรมาน) ข้อบทที่ 4 (การกำหนดให้การพยายาม การสมรู้ร่วมคิด และการมีส่วนร่วมในการกระทำทรมานเป็นความผิดที่ลงโทษได้ตามกฎหมายอาญา) และข้อบทที่ 5 (เขตอำนาจศาลสากลเหนือความผิดฐานกระทำทรมาน) อย่างเป็นทางการ  โดยองค์การสหประชาชาติได้แจ้งเวียนตราสารดังกล่าวของไทยแล้ว และกำหนดให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2566 เป็นต้นไป 

ในส่วนของการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการทรมานในระดับชาติ พระราชบัญญัติฉบับนี้ได้ผลักดันให้เจ้าหน้าที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทำงานอย่างแข็งขันในการป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมาน 

ในขณะที่ประเทศไทยมีความก้าวหน้าในการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการทรมานในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจะต้องไม่ลืมว่า รัฐยังจะต้องมุ่งเน้นการใช้หลักประกัันสิทธิขั้นพื้นฐาน เช่น สิทธิในการเข้าถึงญาติ ทนาย และแพทย์ ให้แก่บุคคลที่ถูกควบคุมตัวควบคู่กันไป บาร์บารา เบอร์นาธ เลขาธิการ APT 

ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2567 มีการรายงานข่าวเกี่ยวกับคดีฆาตรกรรม หญิงสาววัย 47 ปี  โดยศพของผู้หญิงคนดังกล่าวถูกพบที่สระน้ำข้างโรงเรียนในพื้นที่ ในอำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว โดยสามีของผู้ตายมาพบเจ้าหน้าที่ตำรวจและให้การรับสารภาพว่าตนเองเป็นผู้ก่อเหตุทำร้ายร่างกายภรรยาจนเสียชีวิต 

อย่างไรก็ตาม สื่อมวลชนแห่งหนึ่งได้ทำการค้นหาความจริง และพบข้อมูลเพิ่มเติมหลังจากการตรวจสอบกล้องวงจรปิดด้านหน้าทางเข้าข้างสถานีตำรวจภูธร อำเภออรัญประเทศ และโรงพยาบาลอรัญประเทศ พบผู้ก่อเหตุที่แท้จริงเป็นกลุ่มวัยรุ่น 5 คน อายุระหว่าง 13-16 ปี ที่เข้าทำร้ายหญิงสาววัย 47 ปีและนำร่างไปทิ้งสระน้ำจนเสียชีวิต โดยหนึ่งในกลุ่มวัยรุ่นนี้ เป็นบุตรชายของเจ้าหน้าที่ตำรวจเจ้าของคดี 

ต่อมาสามีของหญิงที่เสียชีวิตได้รับการปล่อยตัว และให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนถึงสาเหตุที่ยอมรับสารภาพ โดยอ้างว่ามีการใช้การบังคับทางร่างกาย เช่น การบังคับเปลื้องผ้า การผูกข้อเท้า และการขู่ว่าจะทำให้หายใจไม่ออกด้วยการคลุมถุงพลาสติก ในระหว่างการสอบสวนของเขา 

ในการนี้ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) ของประเทศไทยเห็นถึงความสำคัญของคดี จึงได้ใช้อำนาจภายใต้กฎหมายต่อต้านการทรมานได้ในมาตรา 31 ที่ระบุให้อำนาจสอบสวนกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ โดยดีเอสไอจะเสนอเรื่องผ่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม จากนั้นจึงจะมีการสอบสวนร่วมกันทั้ง 4 หน่วยงานตามมาตรา 31 เพื่อให้เกิดความโปร่งใส 

นายอังศุเกศ วิสุทธิวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกองกิจการอำนวยความยุติธรรม ของ DSI กล่าวกับ APT ว่า DSI จะประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อความโปร่งใสในการดำเนินคดีกับเจ้าหน้าที่ตำรวจตามกฎหมายต่อต้านการทรมาน โดยกระบวนการจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการทรมานของประเทศไทย  

จากกรณีดังกล่าว เห็นได้ชัดว่าประเทศไทยยังคงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้มาตรการคุ้มครองทางกฎหมายและกระบวนการอย่างเต็มที่ในระหว่างการควบคุมตัวของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ดังที่ระบุในหลักการว่าด้วยการสัมภาษณ์อย่างมีประสิทธิผลเพื่อการสืบสวนและการรวบรวมข้อมูล หรือที่เรียกว่าหลักการเมนเดซ ที่มุ่งเน้นการยกเลิกวิธีการสืบสวนสอบสวนเชิงบีบบังคับไปสู่การสัมภาษณ์เพื่อค้นหาความจริง (investigative interviewing) โดยให้ความสำคัญกับการบันทึกภาพและเสียงในระหว่างการสัมภาษณ์ และจัดให้มีระบบตรวจสอบที่โปร่งใสในสถานที่ควบคุมตัว 

สำหรับประเทศไทยได้เข้าร่วมกับรัฐอื่นๆ มากกว่า 60 รัฐในสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเพื่อแสดงการสนับสนุนหลักการเมนเดซ  

APT ได้ทำงานร่วมกับหน่วยงานรัฐในประเทศไทยเพื่อเสริมสร้างความรู้ในการป้องกันการทรมาน รวมถึงการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการเมนเดซร่วมกับโรงเรียนนายร้อยตำรวจ และหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายอื่นๆ 

จากความร่วมมือครั้งนี้ ... เกียรติศักดิ์ จันจะนะ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ เน้นย้ำถึงความมุ่งมั่นของสถาบันในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสัมภาษณ์ของเจ้าหน้าตำรวจให้สอดคล้องกับการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการทรมาน โดยเน้นย้ำถึงความสำคัญในการสร้างตำรวจรุ่นใหม่ให้มีทัศนคติและทักษะความรู้ในการนำแนวทางที่ต่อต้านการใช้การทรมานในการสืบสวนสอบสวนอย่างเคร่งครัด 

ในเดือนมีนาคมที่จะถึงนี้ APT จะจัดการสัมมนาการฝึกอบรมผู้ฝึกสอนการสืบสวนสอบสวนอีกครั้ง โดยเป็นความร่วมมือระหว่าง APT โรงเรียนนายร้อยตำรวจและตำรวจนิวซีแลนด์ โดยมุ่งเน้นการใช้ทักษะการสัมภาษณ์โดยการสร้่างความสัมพันธ์ในการค้นหาความจริง  

นอกจากนี้ APT ได้จัดการประชุมระดับชาติในประเทศไทยเกี่ยวกับการให้เข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานแห่งสหประชาชาติ (OPCAT) โดยเน้นย้ำการสร้างระบบสำหรับการตรวจเยี่ยมสถานที่ควบคุมตัวอย่างเป็นประจำและไม่แจ้งล่วงหน้า  

การประชุมระดับชาติซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ .. 2567 โดยความร่วมมือกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประเทศไทย OHCHR และสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย ได้เชิญตัวแทนจากสถาบันภาครัฐต่างๆ มากกว่า 26 แห่งเข้าร่วมรับฟังการบรรยายให้และให้ความเห็นต่อการเข้าเป็นภาคีพิธีสารฉบับนี้  

APT ยังร่วมมือกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของประเทศไทย ในการจัดการอบรมเพื่อสร้างความเข้าใจหลักการ ต่างๆ ภายใต้ OPCAT และวิธีการตรวจเยี่ยมให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น 

“การทำงานของเอพีทีกับหน่วยงานรัฐและเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายของประเทศไทย เป็นนิมิตหมายสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ารัฐไทยมีความมุ่งมั่นอย่างแท้จริงในการดำเนินการเปลี่ยนแปลงเชิงปฏิบัติที่ครอบคลุมทั้งกระบวนการยุติธรรมทั่วประเทศ APTจะสนับสนุนความพยายามของประเทศไทยต่อไป เพื่อเป้าหมายสูงสุดว่า ประชาชนทุกคนจะได้รับความคุ้มครองและมีความปลอดภัยในขณะถูกควบคุมตัวเลขาธิการ APT กล่าว 

 

News Monday, March 11, 2024

Escrito por